วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดี ที่ 25 กันยายน 2557



บันทึกการเรียน

แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

          - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
          - นำไปสู้การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

Richard and Rodger  (1995)  ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดการประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม

    1. มุมมองด้านโครงสร้างภาษา
        - นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
        - เสียง  ไวยากรณ์  การประกอบคำเป็นวลี  หรือประโยค
   2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
       - เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
       - การจัดประสบการณ์เน้นสื่อความหมาย
       - ไม่ได้ละทิ้งแบบแผยหรือไวยากรณ์
   3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
      -  เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
      - การเเลกเปลี่ยนประสบการณ์
      - เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา

การจักประสบการทางภาษาเน้าทักษะทางภาษา  Skillapprooh

        - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
        - การประสมคำ
        - ความหมายของคำ
        - นำคำมาประกอบเป็นประโยค
        - การแจกลูกสะกดคำการเขียน

ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย

       - สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
       - ช่างสงสัย ช่างสักถาม
       - มีความคิดสร้างและจิตนาการ
       - ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
       - เลียนเเบบคนรอบข้าง

ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
         Dewey / Piaget / Vygotsky / Hallday

     - เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
     - เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม ได้สัมผัสจับต้องกับสิ่งต่างๆ แล้วสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตนเอง
     - สิ่งเเวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก

การสอนภาษาธรรมชาติ 

    - สอนแบบบูรณาการ/องค์รวม    - สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก    - สอนสิ่งที่ใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน    - สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนไปพร้อมกับการทำกิจกรรม    - ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด    - ไม่บังคับให้เด็กเขียน

หลักของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

     1.การจัดสภาพแวดล้อม
     2.การสื่อสารที่มีความหมาย
     3.การเป็นแบบอย่าง
     4.การตั้งความหวัง
     5.การคาดคะเน
     6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
     7.การยอมรับนับถือ
     8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น

บทบาทของครู

    - ครูคาดหวังกับเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
    - ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
    - ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกต้องครบถ้วนของเด็ก
    - ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์


ภาพกิจกรรม


























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น